วันอังคารที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2554

ประวัติปลามังกร



ปลาอะโรวาน่า นับว่าเป็นสุดยอดปลาสวยงามที่ ได้รับความนิยมอย่างสูงสุดมา โดยตลอดซึ่งอาจจะ เป็นเพราะปลาชนิดนี้เป็นปลาที่มีรูปร่างสวยงามน่า เกรงขามมีเกล็ดขนาดใหญ่และมีสีสีนแวววามมี หนวดซึ่งลักษณะดังกล่าวนี้จะคล้าย"มังกร" นอกจากนี้ยังมีเรื่องความเชื่อต่างๆ เข้ามาเกี่ยว ข้องกับปลาอะโรวาน่าโดยชาวจีนเชื่อว่าผู้ใดเลี้ยง ปลาชนิดนี้แล้วจะร่ำรวยมีโชคลาภ จึงทำให้ปลา ชนิดนี้ได้รับความนิยมอย่างสูงสุด จึงส่งผลให้ราคาปลาดังกล่าวมีราคาค่อนข้างสูง สำหรับปลาอะโรวาน่าเกือบทุก สายพันธุ์ โดยเฉพาะสายพันธุ์จากทวีปเอเชีย จากการศึกษาตามประวัติของปลา ชนิดนี้พอที่จะทราบได้ว่ามีการขุดค้นพบซากฟอลซิลและหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ จึงทราบว่าปลาอะโรวาน่าจัดเป็นปลาโบราณอยู่ในตระกูล "Osteoglossidae" ซึ่งเป็นตระกูลของปลา ที่มีลิ้นเป็นกระดูกแข็ง Bony Tougue ปลาชนิดนี้พบ กระจายอยู่ใน 4 ทวีป ทั่วโลก คือ ทวีปเอเชีย ทวีปอเมริกาใต้ ทวีปอัฟริกา และทวีป ออสเตรเลีย โดยปลาที่มาจากแต่ละทวีปจะมีรูปร่างลักษณะเด่นพิเศษที่แตกต่างกัน ตามไปด้วย โดยเฉพาะปลาที่มาจากทวีปเอเชีย เป็นปลาที่มีราคาแพงมากที่สุด สายพันธุ์อเมริกาใต้ อะโรวาน่า ปลาตะพัด หรือปลามังกร เป็นปลาที่จัดอยู่ในตระกูล Osteoglos Sidae (ออสที โอกลอสซีดี้) ปลาในตระกูลนี้พบแพร่กระ จายอยู่ทั่วโลก โดยมีลักษณะภายนอกที่แตกต่าง กันและผันแปรไปตามแหล่งที่สามารถพบได้ แบ่ง ได้ 4 สกุล(Genus) และ มีอีก 7 ชนิด(Specises) ด้วยกัน คือ ทวีปอเมริกาใต้ 3 ชนิด ทวีปออสเตเลีย 2ชนิด ทวีปอัฟริกา 1 ชนิด ทวีปเอเบียอีก 1 ชนิด (4 สายพันธุ์) ซึ่งแต่ละชนิดมีถิ่นกำเนิดแตกต่างกันออกไปดังนี้

1. กลุ่มทวีปเอเชีย

2. กลุ่มทวีปอเมริกาใต้

3. กลุ่มทวีปแอฟริกา

4. กลุ่มทวีปออสเตรเลีย และนอกจากนั้นลักษณะสีของลำตัว หัวและครีบ ของปลา อะโรวาน่าก็มีสีแตกต่างกันออกตามสาย พันธุ์ ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 3 สายพันธุ์

ถิ่นกำหนด

ปลาอะโรวาน่าหรือปลาตะพัดเป็นปลาที่จัดอยู่ในครอบครัว Osteoglossidae (ออสทีโอกลอสซิดี้) ปลาในตระกูลนี้หากจัดแบ่งตามแหล่งที่อยู่อาศัยหรือเขตุภูมิภาคที่พบซึ่งเป็น ที่ยอมรับของสากลจะแบ่งออกเป็น 4 สกุล
(Genus) และมี 7 ชนิด (Species) คือ

ทวีปอเมริกาใต้ 3 ชนิด

ทวีปออสเตรเลีย 2 ชนิด

ทวีปอัฟริกา 1 ชนิด

ทวีปเอเซีย 1 ชนิด (4 สายพันธุ์)
ที่มา http://xn--12cara3hpbehgnd9lfg4b4m4f.blogspot.com/

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น